SAT Data and Information Center

ศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการบริหารองค์กรสู่ความเป็นเลิศ


ข้อมูลผลงานตีพิมพ์

แสดงข้อมูลผลงานตีพิมพ์ อ้างอิงจากฐาน pubswatch.psu.ac.th

กรอง
ตาราง ผลงานตีพิมพ์ TCI หน่วยงาน เกษตรและประมง
ลำดับรายละเอียดผลงาน
1อารยา เจียรมาศ, แขม ล่องนภา, สมนึก สอนนอก และอภิชัย บัวชูก้าน. (2565). ผลของการเสริมใบบัวบกผงในอาหารต่อผลผลิตไข่และค่าโลหิตวิทยาในนกกระทาญี่ปุ่น. แก่นเกษตร, 50(4), 1194-1203.
Cited:
2ชัญญานุช อุดมทรัพย์, เสาวภา ด้วงปาน, ณัฏฐากร วรอัฐสิน, กรกช นาคคนอง และจรัสศรี นวลศรี. (2564). การเปรียบเทียบวิธีการสกัดอาร์เอ็นเอเพื่อศึกษาการแสดงออกของยีนจากลำต้นยางพารา. วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์, 8(2), 66-72.
Cited:
3สมศักดิ์ บัวทิพย์ และพัน ยี่สิ้น. (2564). พฤติกรรมการกินของปูแสม Episesarma mederi (H. Milne Edwards, 1853) (Decapoda; Sesarmidae) ในป่าชายเลนของอ่าวปัตตานี, ประเทศไทย. วารสารวิทยาศาสตร์ มข., 49(2), 212-219.
Cited:
4สมศักดิ์ บัวทิพย์, เกื้อ ฤทธิบูรณ์, สุภาพร แสงแก้ว, สิทธิศักดิ์ จันทรัตน์, เชาวพจน์ ชววงศา, เดะมะ กะนิแร, พัน ยี่สิ้น และพิมลรัตน์ ทองโรย. (2564). สัตว์น้ำพลอยจับได้จากประมงอวนจมปู ในจังหวัดปัตตานี. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา, 26(1), 572-592.
Cited:
5เทียนทิพย์ ไกรพรม, สิทธิศักดิ์ จันทรัตน์, แขม ล่องนภา และฑิตฐิตา เจี้ยนเซ่ง. (2563). การใช้เศษเหลือจากการตัดแต่งเห็ดนางฟ้าในอาหารข้นส าหรับแพะลูกผสมพื้นเมืองแองโกลนูเบียน. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มรย., 5(2), 112-121.
Cited:
6อมมี เบญจมะ, สุธา เกลาฉีด และพายัพ มาศนิยม. (2563). ผลของอุณหภูมิลมร้อนต่อจลนพลศาสตร์การอบแห้งและคุณภาพของกุ้งกะต่อม. วารสารวิจัยเทคโนโลยีการประมง, 14(1), 82-91.
Cited:
7ภัทราวดี ศรีมีเทียน และจิติมา สุวรรณมาลา. (2562). การเจริญเติบโตของปูทะเล (Scylla spp.) หลังการลอกคราบ. วารสารวิจัยเทคโนโลยีการประมง, 13(2), 25-36.
Cited:
8นูรอีน ยีแสม, พัน ยี่สิ้น และสิทธิศักดิ์ จันทรัตน์. (2562). พันธุศาสตร์เซลล์ของปลาซิวทอง Rasbora einthovenii บริเวณป่าพรุสิรินธร จังหวัดนราธิวาส. วารสารวิจัยเทคโนโลยีการประมง, 13(2), 58-68.
Cited:
9Somsak Buatip, ซาการียา สมาแอ และพัน ยี่สิ้น. (2561). ชีววิทยาบางประการของปูน้ำจืด 5 ชนิด ในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา, 23(1), 431-447.
Cited:
10เทียนทิพย์ ไกรพรม (2561). ผลการใช้เศษเหลือทิ้งจากปาล์มน้ำมันในสูตรอาหารผสมสำเร็จในแพะต่อการใช้ประโยชน์ได้ของโภชนะปริมาณกรดไขมันที่ระเหยง่าย และเมแทบอไลซ์ในเลือด. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 10(2), 171-183.
Cited:
11เทียนทิพย์ ไกรพรม (2561). ผลของการทดแทนกระถินเป็นแหล่งอาหารหยาบต่อสมรรถภาพการผลิตแพะและความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 10(2), 140-149.
Cited:
12ภัทราวดี ศรีมีเทียน, จิติมา สุวรรณมาลา และสุรยิัน ธัญกิจจานุกิจ. (2560). การทดสอบความรุนแรงของเชื้อ Vibrio parahaemolyticus ในปูทะเล (Scylla sp.). สัตวแพทย์มหานครสาร, 12(1), 19-27.
Cited:
13สมศักดิ์ บัวทิพย์, พัน ยี่สิ้น และศราวุธ เจ๊ะโส๊ะ. (2560). ชีววิทยาบางประการของปูแสม Episesarma mederi (H. Milne Edward, 1853) ในอ่าวปัตตานี. วารสารวิจัยเทคโนโลยีการประมง, 11(2), 70-82.
Cited:
14สุเฟียนี แวดอเลาะ, พายัพ มาศนิยม และอมมี เบญจมะ. (2559). คุณภาพผลิตภัณฑ์หมึกสอดไส้ข้าวเหนียวที่ปรุงเสร็จ ระหว่างเก็บรักษาในสภาวะเย็น. วารสารวิจัยเทคโนโลยีการประมง, 10(2), 98-106.
Cited:
15เทียนทิพย์ ไกรพรม และอับดุลเลาะ สาแม. (2558). การสำรวจสถานภาพการเลี้ยงแกะและศึกษาคุณค่าทางโภชนะของพืชที่ใช้เลี้ยงแกะในจังหวัดปัตตานี. วารสารเกษตร, 31(3), 339-347.
Cited:
16เทียนทิพย์ ไกรพรม, อารีฟัน มะทา, หมะโซเร่ หมะโสะ และสารีมาน ซือนา. (2557). การสำรวจสภาพการเลี้ยงโคเนื้อของเกษตรกรในจังหวัดปัตตานี. วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 20(3), 141-160.
Cited:
17วรรณิณี จันทร์แก้ว, ระพีพร เรืองช่วย และสุริยะ จันทร์แก้ว. (2555). การเจริญเติบโตของสาหร่ายสายใบบริเวณแนวกันคลื่นชายฝั่งนครศรีธรรมราช. วารสารวิจัยเทคโนโลยีการประมง, 6(2), 87-96.
Cited:
18นญาดา ขวัญทอง, ระพีพร เรืองช่วย และซุกรี หะยีสาแม. (2555). ประชาคมสัตว์น้ำบริเวณแท่งเสาคอนกรีตสำหรับการป้องกันตลิ่ง ในจังหวัดปัตตานี. วารสารมหาวิทยาลัยทักษิณ, 15(3), 55-64.
Cited:
19วาริชัย พิมพ์บุตร, สมศักดิ์ นวลแก้ว, สุจริต ส่วนไพโรจน์, มาระตรี เปลี่ยนศิริชัย และวรัญญู แก้วดวงตา. (2554). ปริมาณคลอโรฟิลล์ และแคโรทีนอยด์ ในใบอ่อนของผักพื้นบ้านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารมหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 30(3), 284-289.
Cited:
20มนูญ ศิรินุพงศ์, สุจริต ส่วนไพโรจน์ และเสกสม พัฒนพิชัย. (2551). การเปรียบเทียบพันธุ์ของแตงเทศ 4 พันธุ์ ระบบปลูกพืชในวัสดุปลูก. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 39(3), 321-328.
Cited:
21ซุกรี หะยีสาแม, อลิสา หะสาเมาะ, แวรอมลี บูละ และศรีสมภพ จิตต์ภิรมย์ศรี. (2551). ประมงพื้นบ้านชายแดนใต้ : การจัดการกับปัญหาที่ต้องการความแตกต่าง. เอเชียปริทัศน์, 29(2), 24-48.
Cited:
22เทียนทิพย์ ไกรพรม, เสาวนิต คูประเสริฐ, วันวิศาข์ งามผ่องใส และปิ่น จันจุฬา. (2551). ผลการใช้มันเส้นทดแทนข้าวโพดบดในอาหารข้นต่อนิเวศวิทยาในกระเพาะรูเมนและการสังเคราะห์โปรตีนของจุลินทรีย์ในแพะ. แก่นเกษตร, 36(1), 4-15.
Cited:
23นิรัติศัย เพชรสุภา และธีรวุฒิ เลิศสุทธิชวาล. (2551). วงจรชีวิตของ Ichthyophthirius multifiliis เเละรูปแบบโปรตีนจากซีรั่มของปลาทอง (Carassius auratus) ที่เป็นโรคจุดขาว. วารสารวิจัยเทคโนโลยีการประมง, 2(2), 104-114.
Cited:
24ระพีพร เรืองช่วย (2551). โครงการการเลี้ยงสาหร่ายผมนาง(Gracilaria SPP.) เพื่อเป็นอาชีพทางเลือกใหม่สำหรับชาวประมงพื้นบ้านในอ่าวปัตตานี จังหวัดปัตตานี. วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่, 1(1), 35-44.
Cited:
25พายัพ มาศนิยม และอมมี เบญจมะ. (2550). ผลของกรดแลคติก อะซิติก และซิตริก ต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของหอยแมลงภู่แช่เย็น. Songklanakarin Journal of Science and Technology, 29(4), 1123-1134.
Cited:
26ปิ่น จันจุฬา และสมนึก สอนนอก. (2550). ผลของพันธุ์และระยะเวลาในการตัดต่อเนื่องต่อผลผลิตและองค์ประกอบทางเคมีของมันเฮย์ในภาคใต้ของประเทศไทย. Songklanakarin Journal of Science and Technology, 29(1), 49-60.
Cited:
27ระพีพร เรืองช่วย, นฤมล เพียรทำดี และโชคชัย เหลืองธุวปราณีต. (2550). ลักษณะการปรากฏและการศึกษาอนุกรมวิธานของสาหร่ายทะเลขนาดใหญ่ในอ่าวปัตตานี. Songklanakarin Journal of Science and Technology, 29(4), 893-905.
Cited:
28มาระศรี เปลี่ยนศิริชัย, ธีรพงศ์ แสนยศ, สุจริต ส่วนไพโรจน์ และKriangsuk Boontiang. (2549). อิทธิพลของสารเคลือบผิวกินได้ที่มี Sucrose Ester เป็นองค์ประกอบต่อการยืดอายุการเก็บรักษาผักและผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว. วารสารมหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 25(3), 49-58.
Cited:
29ซุกรี หะยีสาแม, ไพโรจน์ สิริมนตาภรณ์, พัน ยี่สิ้น และS. Ibrahim. (2542). ความชุกชุมและความหลากหลายของลูกปลาวัยอ่อนบริเวณปากแม่น้ำสายบุรี. Songklanakarin Journal of Science and Technology, 21(3), 265-276.
Cited:
30ซุกรี หะยีสาแม และS. Ibrahim. (2541). ความเข้มแสงสำหรับการประมงอวนไดนาโมในจังหวัดปัตตานี. Songklanakarin Journal of Science and Technology, 20(2), 141-148.
Cited:
รวม TCI 30 รายการ 0 citations

Copyright ©2021-2022 by Faculty of Science and Technology
Prince of Songkla University, 181 Rusamilae Meaung Pattani, 94000
Tel: 073-331303 Email: scitech@g.psu.ac.th